ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15 ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา อัจฉริยภาพ(เคมี) จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา เคมี จำนวน 7.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 5 ชั่วโมง /สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16 ชั่วโมง 40 นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์ จำนวน 2.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ(เคมี) จำนวน 2.5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา เคมี จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
ประเด็นท้าทายเรื่อง : การใช้สื่อในการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ม.2เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนใจกิจกรรมการเรียนการสอน
เป้าหมายเชิงปริมาณ
มีคะแนนทดสอบหลังเรียนผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด
เป้าหมายคุณภาพ
มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
จัดทำคำอธิบายรายวิชา และจัดทำโครงสร้างรายวิชามีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และสามารถ
นำไปปฏิบัติจริง
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
มีการประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ และยังมี
การประชุมครูผู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ เคมี
เพื่อปรึกษา และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ในการจัดการเรียนการสอน ผ่านทางช่องทางออนไลน์ต่างๆ หรือประชุมอย่างเป็นทางการ